SAN (Storage Area Network) เป็นเทคโนโลยีเพื่อช่วยเข้าถึงข้อมูลในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ เพื่อเข้ามาแทนที่การเชื่อมต่ออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลโดยตรงอย่าง Direct Attached Storage (DAS) ซึ่งมีข้อจำกัดอยู่หลายอย่าง เช่น ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล ความถูกต้องของข้อมูล หรือ พื้นที่จัดเก็บ ให้เกิดความยืดหยุ่นในการเข้าถึงอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมากกว่า โดยมีพื้นฐานมาจากมาตรฐานเปิดเน็ตเวิร์กโปรโตคอล
PAN เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคลบลูทูธ (PAN) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ทำให้คุณสามารถสร้างเครือข่าย อีเทอร์เน็ต ด้วยการเชื่อมต่อแบบไร้สายระหว่างคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์แบบพกพาต่างๆ คุณสามารถเชื่อมต่อกับชนิดของอุปกรณ์ที่รองรับบลูทูธซึ่งใช้กับ PAN ได้ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์สำหรับผู้ใช้เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคล (PANU) อุปกรณ์ที่ให้บริการในเครือข่ายเฉพาะกิจแบบกลุ่ม (GN) หรืออุปกรณ์ในจุดเข้าใช้งานเครือข่าย (NAP)
วันเสาร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2555
2. สื่อกลางประเภทไม่มีสาย มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง จงเปรียบเทียบ
ข้อดี : ติดตั้งเพื่อเชื่อมโยงการติดต่อได้สะดวก เพียงต่ออุปกรณ์เครื่องรับ-ส่งวิทยุกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แล้วตรวจสอบความเรียบร้อยของระบบก็สามารถจะสื่อสารข้อมูลทั้งภายในและภายนอกอาคารได้ เนื่องจากในการสื่อสารด้วยระบบวิทยุจะมีระบบความพร้อมก่อนทำการรับส่งข้อมูล จึงไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องสัญญาณรบกวน
ข้อเสีย : มีอัตราเร็วในการส่งข้อมูลต่ำ นอกจากนี้ยังต้องทำการขออนุญาตใช้ความถี่วิทยุกับกรมไปรษณีย์โทรเลขเสียก่อน สำหรับค่าใช้จ่ายในเรื่องของอุปกรณ์สื่อสารนั้นค่อนข้างจะมีราคาแพงกว่าการสื่อสารด้วยสายสัญญาณ
ข้อเสีย : มีอัตราเร็วในการส่งข้อมูลต่ำ นอกจากนี้ยังต้องทำการขออนุญาตใช้ความถี่วิทยุกับกรมไปรษณีย์โทรเลขเสียก่อน สำหรับค่าใช้จ่ายในเรื่องของอุปกรณ์สื่อสารนั้นค่อนข้างจะมีราคาแพงกว่าการสื่อสารด้วยสายสัญญาณ
1. สื่อกลางประเภทมีสาย มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง จงเปรียบเทียบ
ข้อดี- ราคาถูก
- เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งน้อย
- ใช้อย่างกว้างขวางในระบบโทรศัพท์
ข้อเสีย- อัตราเร็วในการส่งข้อมูลจะน้อยกว่าสายสัญญาณแบบอื่น
- มีข้อจำกัดเรื่องความยาวของสายสัญญาณ
- เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งน้อย
- ใช้อย่างกว้างขวางในระบบโทรศัพท์
ข้อเสีย- อัตราเร็วในการส่งข้อมูลจะน้อยกว่าสายสัญญาณแบบอื่น
- มีข้อจำกัดเรื่องความยาวของสายสัญญาณ
วันพุธที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
5. จงเรียงลำดับโครงสร้างขอ้มูลของการมองของผู้ใช้งานจากขนาดเล็กไปใหญ่
1. บิท (Bit)
คือค่าที่เล็กที่สุดที่คอมพิวเตอร์รู้จัก เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า และสัญญาณของกระแสไฟฟ้ามี 2 สภาวะ คือสภาวะที่วงจรมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านกับวงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน หรืออีกนัยหนึ่งคือ วงจรเปิดและวงจรปิดสภาวะเช่นนี้ถูกนำมาใช้เทียบกับระบบเลขฐาน 2 โดยมีเลข 0 คือวงจรปิด และเลข 1 คือวงจรเปิด สามารถตรวจสอบได้ง่าย ดังนั้นจึงนำเลขฐาน 2 มาใช้เก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยการสร้างชิป (Chip) ซึ่งเป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้องนำบิทมารวมเป็นกลุ่มเพื่อใช้สื่อความหมาย เช่นถ้าใช้ 2 บิท จะสื่อความหมายได้ 4 แบบ คือ 00,01,10,11 และถ้าใช้ 3 บิท จะสื่อความหมายได้ 8 แบบ
คือค่าที่เล็กที่สุดที่คอมพิวเตอร์รู้จัก เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า และสัญญาณของกระแสไฟฟ้ามี 2 สภาวะ คือสภาวะที่วงจรมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านกับวงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน หรืออีกนัยหนึ่งคือ วงจรเปิดและวงจรปิดสภาวะเช่นนี้ถูกนำมาใช้เทียบกับระบบเลขฐาน 2 โดยมีเลข 0 คือวงจรปิด และเลข 1 คือวงจรเปิด สามารถตรวจสอบได้ง่าย ดังนั้นจึงนำเลขฐาน 2 มาใช้เก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยการสร้างชิป (Chip) ซึ่งเป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้องนำบิทมารวมเป็นกลุ่มเพื่อใช้สื่อความหมาย เช่นถ้าใช้ 2 บิท จะสื่อความหมายได้ 4 แบบ คือ 00,01,10,11 และถ้าใช้ 3 บิท จะสื่อความหมายได้ 8 แบบ
2. ไบท์ (Byte)
คือการนำบิทมารวมกันเพื่อใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร และสัญลักษณ์ ซึ่งสามารถสื่อความหมายได้ 256 แบบ ปัจจุบันไบท์เป็นหน่วยที่ใช้วัดขนาดหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์และนับจำนวนตัวอักษร ค่าที่ใช้วัดหน่วยความจำทางคอมพิวเตอร์
4. หน่วยที่เล็กที่สุดในการมองของคอมพิวเตอร์
1. บิท (Bit)
คือค่าที่เล็กที่สุดที่คอมพิวเตอร์รู้จัก เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า และสัญญาณของกระแสไฟฟ้ามี 2 สภาวะ คือสภาวะที่วงจรมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านกับวงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน หรืออีกนัยหนึ่งคือวงจรเปิดและวงจรปิด สภาวะเช่นนี้ถูกนำมาใช้เทียบกับระบบเลขฐาน 2 โดยมีเลข 0 คือวงจรปิด และเลข 1 คือวงจรเปิด สามารถตรวจสอบได้ง่าย ดังนั้นจึงนำเลขฐาน 2 มาใช้เก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยการสร้างชิป (Chip) ซึ่งเป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้องนำบิทมารวมเป็นกลุ่มเพื่อใช้สื่อความหมาย เช่นถ้าใช้ 2 บิท จะสื่อความหมายได้ 4 แบบ คือ 00,01,10,11 และถ้าใช้ 3 บิท จะสื่อความหมายได้ 8 แบบ
คือค่าที่เล็กที่สุดที่คอมพิวเตอร์รู้จัก เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า และสัญญาณของกระแสไฟฟ้ามี 2 สภาวะ คือสภาวะที่วงจรมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านกับวงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน หรืออีกนัยหนึ่งคือวงจรเปิดและวงจรปิด สภาวะเช่นนี้ถูกนำมาใช้เทียบกับระบบเลขฐาน 2 โดยมีเลข 0 คือวงจรปิด และเลข 1 คือวงจรเปิด สามารถตรวจสอบได้ง่าย ดังนั้นจึงนำเลขฐาน 2 มาใช้เก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยการสร้างชิป (Chip) ซึ่งเป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้องนำบิทมารวมเป็นกลุ่มเพื่อใช้สื่อความหมาย เช่นถ้าใช้ 2 บิท จะสื่อความหมายได้ 4 แบบ คือ 00,01,10,11 และถ้าใช้ 3 บิท จะสื่อความหมายได้ 8 แบบ
3. ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้กี่วิธี อะไรบ้าง
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้ 3วิธี ดังนี้
1. ขั้นเตรียมข้อมูล
1. ขั้นเตรียมข้อมูล
เป็นการเตรียมข้อมูลเพื่อให้สะดวกต่อการประมวลผล ซึ่งมี 4 วิธี
1.1 การลงรหัส
1.2 การตรวจสอบ
1.3 การจำแนก
1.4 การบันทึกข้อมูลลงสื่อ
2. ขั้นตอนการประมวลผล
คือ เป็นการนำเอาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาใช้เพื่อประมวลผลข้อมูลที่ได้เตรียมไว้และข้อมูลยังคงเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิธีการผลิตสารสนเทศต่างๆ เช่น
2.1 การคำนวณ
2.2 การเรียงลำดับข้อมูล
2.3 การสรุป
2.4 การเปรียบเทียบ
3. ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์
เป็นขั้นตอนการเผยแพร่สารสนเทศให้กับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ อาจอยู่ในรูปแบบเอกสาร รายงาน การนำเสนอบนจอภาพ โดยการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2. ปัจจุบันนิยมประมวลผลด้วยอะไรบ้าง นศ.คิดว่าเพราะอะไร จงให้เหตุผล
1. ด้วยแรงงานคน
2. ด้วยเครื่องอิเล็คทรอนิคส์
1. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ เป็นวิธีการที่ใช้กับข้อมูลไม่มากนัก และจะนำอุปกรณ์มาใช้ใน –การเก็บข้อมูล, -การคำนวณ-และการคัดลอกข้อมูล ได้แก่ แฟ้ม ,เครื่องคิดเลข,ปากกา เป็นต้น
2. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ เป็นการประมวลผลข้อมูลโดยการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้ขั้นตอนการทำงานสะดวก ถูกต้องรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เหมาะที่จะใช้เกี่ยวกับ งานการเงิน,สถิติ,และงานบัญชี เป็นต้น
2. ด้วยเครื่องอิเล็คทรอนิคส์
1. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ เป็นวิธีการที่ใช้กับข้อมูลไม่มากนัก และจะนำอุปกรณ์มาใช้ใน –การเก็บข้อมูล, -การคำนวณ-และการคัดลอกข้อมูล ได้แก่ แฟ้ม ,เครื่องคิดเลข,ปากกา เป็นต้น
2. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ เป็นการประมวลผลข้อมูลโดยการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้ขั้นตอนการทำงานสะดวก ถูกต้องรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เหมาะที่จะใช้เกี่ยวกับ งานการเงิน,สถิติ,และงานบัญชี เป็นต้น
1. ระบบสารสนเทศประกอบไปกี่ส่วน คืออะไรบ้าง
ประกอบไปด้วย5ส่วน
1.ข้อมูล เป็นทรัพยากรที่สำคัญต่อบุคคลและองค์กร ข้อมูลแบ่งออกเป็น 6 ประเภทดังนี้
1.ข้อมูล เป็นทรัพยากรที่สำคัญต่อบุคคลและองค์กร ข้อมูลแบ่งออกเป็น 6 ประเภทดังนี้
1.1 ข้อมูลทั่วไป
1.2 ข้อความ
1.3 ภาพ
1.4 เสียง
1.5 Tactile Data
1.6ข้อมูลจากเครื่องรับรู้ ได้จากเครื่องรับรู้ต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุมอุปกรณ์
2.การจัดเก็บ เน้นการจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อำนวยความสะดวกต่อการเรียกใช้งาน
3.เครื่องมือที่ใช้จัดเก็บข้อมูลและประมวลผล เครื่องมือที่ใช้คือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
4.การประมวลผล คือการแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการนำมาใช้งาน
5.สารสนเทศ เป็นผลผลิตของระบบสารสนเทศที่มีคุสมบัติถูกต้อง ตรงความต้องการ ทันเหตุการณ์สมบูรณ์ ครบถ้วน กระทัดรัด
วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
3. อุปกรณ์แสดงผลมีหน้าที่อะไรและมีอุปกรณ์อะไรบ้าง
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับผลจากการประมวลผลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ออกแสดงตามลักษณะของอุปกรณ์ ซึ่งมีอยู่ไม่กี่ประเภทที่นิยมใช้ คือ
1. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่สามารถติดต่อกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ได้ทันทีที่มีการประมวลผลเกิดขึ้น ทำให้ผู้ใช้งานสามารถสั่งให้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ทันทีจอภาพมีหลายชนิด เช่น แบบโมโนโครม แบบเกร์สเกล และแบบสี เป็นต้น
1. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่สามารถติดต่อกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ได้ทันทีที่มีการประมวลผลเกิดขึ้น ทำให้ผู้ใช้งานสามารถสั่งให้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ทันทีจอภาพมีหลายชนิด เช่น แบบโมโนโครม แบบเกร์สเกล และแบบสี เป็นต้น
2. เครื่องพิมพ์ (Printer)เป็นอุปกรณ์แสดงผลออกทางกระดาษ อาจเป็นกระดาษต่อเนื่อง กระดาษพิมพ์ขนาดต่างๆ หรือแบบฟอร์มที่ได้กำหนด เราสามารถแบ่งเครื่องพิมพ์ตามวิธีการพิมพ์ได้ 2 ประเภท ดังนี้
2.1 เครื่องพิมพ์ประเภทกระทบประกอบด้วย เครื่องพิมพ์แบบเรียงจุด เครื่องพิมพ์อักษรคุณภาพ เครื่องพิมพืแบบลูกโซ่ เครื่องพิมพ์แบบใช้ดรัม
2.2 เครื่องพิมพ์ชนิดไม่กระทบ ประกอบด้วยเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึกและเครื่องพิมพ์แบบใช้แสงเลเซอร์
3. เครื่องวาดรูปพลอตเตอร์เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ โดยการสร้างรูปภาพแบบทางวิศวกรรม ทางสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นภาพขนาดใหญ่ มีรายละเอียดเช่นเดียวกับระบบเคด หรือพิมพ์เขียว เป็นต้น ปัจจุบันเครื่องวาดรูปพลอยเตอร์สามารถสร้างภาพกราฟฟิกสีสามมิติ ที่มีความละเอียดสูงและทำได้อย่างรวดเร็ว
4. เครื่องแสดงผลลัพธ์ด้วยเสียง ลำโพง เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ด้วยเสียง ปกติคอมพิวเตอร์สามารถส่งสัญญาณเสียงได้ แต่การแสดงผลลัพธ์ในระบบเสียงในที่นี้หมายถึง เสียงที่เกิดจากการ์ดเสียง ในระบบมัลติมีเดีย ลำโพงที่มาพร้อมกับชุดมัลติมีเดียจะมีลักษณะคล้ายลำโพงทั่วไป หน้าที่หลักคือ เมื่อการ์ดเสียงเปลี่ยนสัญญาณเสียงดิจิตอลให้เป็นกระแสไฟฟ้า ผ่านมายังลำโพงทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กและเกิดการสั่นสะเทือนของลำโพง มีผลทำให้เกิดเสียงในระดับต่างๆ
2. อุปกรณ์ของหน่วยประมวลผล มีหน้าที่อะไรและมีอุปกรณ์อะไรบ้าง
การประมวลผลของคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการทำงานประสานกันของหน่วยประมวลผลและหน่วยความจำหลักหรือหน่วยความจำภายใน โดยหน่วยประมวลผลจะทำหน้าที่ควบคุมและปฏิบัติการตามขั้นตอนของโปรแกรม ในขณะที่หน่วยความจำจะเป็นที่พักของโปรแกรม ข้อมูลนำเข้า และผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก่อนนำออกไปแสดงทางอุปกรณ์แสดงผล
1. หน่วยควบคุม (Control Unit)จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ทุกอย่างรวมทั้งตัวเองด้วย ให้เป็นไปตามคำสั่ง เช่น ควบคุมให้หน่วยรับข้อมูลอ่านข้อมูลเข้าหรือให้หน่วยคำนวณ ทำการคำนวณ โดยคำสั่งนั้นจะได้รับจากหน่วยความจำและหน่วยควบคุมจะแปลความหมายแล้วส่งคำสั่งนั้นไปให้หน่วยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ภายในส่วนควบคุมประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ
1.1 Address Wordเป็นส่วนที่จะเก็บตำแหน่งของคำสั่งที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ ซึ่งเป็นส่วนที่ทำให้ CPU สามารถติดต่อกับคำสั่งเหล่านี้ได้
1.2 Instruction Wordเป็นส่วนที่เก็บคำสั่งที่หน่วยควบคุมใช้ในการจัดการ ในชุดของชุดของคำสั่งนี้จะมีรายละเอียดที่กำหนดขั้นตอนและขอบเขต การทำงานของหน่วยควบคุม ภายใต้ชุดสั่งนั้นๆ จะมีชุดของคำสั่งที่จะกำหนดรายละเอียดของการทำงานของส่วนอื่นต่อไป CPU ที่แตกต่างกันจะมี Instruction Set ที่แตกต่างกัน
2. หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ (Arithmatic and Logic Unit : ALU)มีหน้าที่สำหรับการคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร ตลอดทั้งการเปรียบเทียบข้อมูล เช่น เท่ากับ ไม่เท่ากับ มากกว่า น้อยกว่า รวมทั้งการประมวลอื่น ๆ ซึ่งจะกำหนด โดยคำสั่งจากหน่วยควบคุมภายในหน่วยคำนวณและเปรียบเทียบจะประกอบด้วยส่วนย่อยๆ เรียกว่า Register ที่ทำหน้าที่เหมือนหน่วยความจำชั่วคราวที่เก็บค่าและข้อมูลต่าง ที่นำมาคำนวณหรือประมวลผล
1. หน่วยควบคุม (Control Unit)จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ทุกอย่างรวมทั้งตัวเองด้วย ให้เป็นไปตามคำสั่ง เช่น ควบคุมให้หน่วยรับข้อมูลอ่านข้อมูลเข้าหรือให้หน่วยคำนวณ ทำการคำนวณ โดยคำสั่งนั้นจะได้รับจากหน่วยความจำและหน่วยควบคุมจะแปลความหมายแล้วส่งคำสั่งนั้นไปให้หน่วยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ภายในส่วนควบคุมประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ
1.1 Address Wordเป็นส่วนที่จะเก็บตำแหน่งของคำสั่งที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ ซึ่งเป็นส่วนที่ทำให้ CPU สามารถติดต่อกับคำสั่งเหล่านี้ได้
1.2 Instruction Wordเป็นส่วนที่เก็บคำสั่งที่หน่วยควบคุมใช้ในการจัดการ ในชุดของชุดของคำสั่งนี้จะมีรายละเอียดที่กำหนดขั้นตอนและขอบเขต การทำงานของหน่วยควบคุม ภายใต้ชุดสั่งนั้นๆ จะมีชุดของคำสั่งที่จะกำหนดรายละเอียดของการทำงานของส่วนอื่นต่อไป CPU ที่แตกต่างกันจะมี Instruction Set ที่แตกต่างกัน
2. หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ (Arithmatic and Logic Unit : ALU)มีหน้าที่สำหรับการคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร ตลอดทั้งการเปรียบเทียบข้อมูล เช่น เท่ากับ ไม่เท่ากับ มากกว่า น้อยกว่า รวมทั้งการประมวลอื่น ๆ ซึ่งจะกำหนด โดยคำสั่งจากหน่วยควบคุมภายในหน่วยคำนวณและเปรียบเทียบจะประกอบด้วยส่วนย่อยๆ เรียกว่า Register ที่ทำหน้าที่เหมือนหน่วยความจำชั่วคราวที่เก็บค่าและข้อมูลต่าง ที่นำมาคำนวณหรือประมวลผล
1.อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า (Input Device) มีหน้าที่อะไรและมีอุปกรณ์อะไรบ้าง
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าไปสู่หน่วยประมวลผลกลาง ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลคำสั่งต่างๆ ผ่านอุปกรณ์ เหล่านี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ ได้แก่
1. แป้นพิมพ์ (Keyboard)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลที่สามารถพิมพ์หรือเคาะได้ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร เป็นต้น แป้นพิมพ์ถูกออกแบบให้ประกอบด้วยกลุ่มของคีย์ที่มีลักษณะต่างๆ คือ คีย์ตัวอักษร คีย์ตัวเลข คีย์ฟังก์ชั่น และคีย์ทั้งหมดมีถึง 101 คีย์หรือมากกว่า
2. เมาส์ (Mouse)เป็นอุปกรณ์สำหรับรับข้อมูลจากการชี้ตำแหน่งบนจอภาพ โดยอาศัยการเลื่อนเมาส์จากการหมุนของลูกกลมที่อยู่ด้านล่าง นอกจากนี้ยังใช้เมาส์สำหรับการวาดรูป การเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนย้าย ซึ่งอาจทำให้ผู้ใช้งานสามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้อย่างรวดเร็ว
3. แทร็กบอล (Track Ball)เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล โดยการชี้และเลือกข้อมูลผ่านทางจอภาพเช่นเดียวกับเมาส์แต่ แทร็กบอลจะเลื่อนตัวชี้โดยการหมุนลูกบอลที่อยู่ด้านบน โดยตัวแทร็กไม่ต้องเคลื่อนที่ จึงทำให้ใช้พื้นที่การทำงานน้อยกว่า นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop)
4. จอยสติก (Joy Stick)เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลมีลักษณะเป็นคันโยกขึ้นลง ซ้ายขวา เพื่อควบคุมตำแหน่งของตัวชี้ หลักการทำงานเช่นเดียวกับเมาส์นิยมใช้ในการเล่นเกมส์
5. เครื่องอ่านบาร์โค๊ต (Bar Code Reader)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลจากรหัสของเลขฐานสองที่อยู่ในรูปของรหัสแถบ (Bar Code) ซึ่งประกอบด้วยแถบสีดำและยาว ความกว้างของแถบสีดำตัวกำหนดรหัสที่แทนค่าของตัวเลขตามมาตรฐานการกำหนดรหัสจะใช้สำหรับข้อมูลที่แทนตัวเลข เช่น ราคาของสินค้าตามร้านขายสินค้าประเภทต่างๆ
6. สแกนเนอร์ (Scanner)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูล โดยการอ่านหรือสแกน(Scan) ข้อมูลที่ต้องการ เครื่องสแกนจะมีเซลล์ไวแสงที่ตรวจจับความเข้มของแสงที่สะท้อนจากข้อมูล แล้วแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลให้เครื่องคอมพิวเตอร์ดำเนินการต่อไป ข้อมูลอาจจะอยู่ในรูปของข้อความหรือกราฟฟิก เครื่องสแกนมีหลายแบบตามความเหมาะสมกับการใช้งาน เช่น แบบมือถือ แบบสอดกระดาษ แบบแท่น เป็นต้น
7. เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง (Optical Character Reader: OCR)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่เป็นอักขระจากเอกสารต่างๆ เช่น ตัวอักษรบนเช็ค ตัวอักษรบนเอกสารอื่นๆ ทำให้สะดวกในการรับข้อมูลจากเอกสารจำนวนมาก
8. 1.1.8 เครื่องอ่านหมึกพิมพ์แม่เหล็ก (Magcnetic Ink Character Reader: MICR)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่พัฒนาเพื่อใช้สำหรับการอ่านสัญลักษณ์ที่พิมพ์จากหมึกพิมพ์ที่ผสมกับผงเหล็กออกไซด์ เครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธนาคารและสถาบันการเงิน โดยใช้กับการอ่านเช็คเลขที่บัญชี หรือรหัสสาขา เป็นต้น
9. ปากกาแสง (Light Pen)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลอีกชนิดหนึ่งโดนการแตะปากกาแสงไปตามตำแหน่งหรือทิศทางที่ต้องการ มักใช้ในงานออกแบบ แต่การใช้สำหรับการเขียนอักขระ ไม่เป็นที่นิยมเนื่องจากมีข้อจำกัดเกี่ยวกับสัญญาณที่ได้รับจากการเขียน ซึ่งทำได้ยากในการเปรียบเทียบค่าที่รับเข้ากับค่าที่กำหนดไว้
10. จอสัมผัส (Touch Screens)เป็นอุปกรณ์สามารถทำงานได้ทั้งการรับและการแสดงผลการรับข้อมูลจะใช้นิ้วสัมผัสที่หน้าจอ เพื่อเลือกเมนู เช่น หน้าจอของเครื่อง ATM (Automatic Teller Machines) และเครื่องที่ใช้ในร้านซูเปอร์มาร์เก็ต เป็นต้น
11. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital Camera)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยการถ่ายภาพ ข้อมูลที่ได้จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลแล้วเก็บข้อมูลดิจิตอลนั้นไว้ในอุปกรณ์ CCD (Charge Coupled Device) แล้วส่งข้อมูลไปประมวลผลในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ภาพตามต้องการ ซึ่งสามารถพิมพ์ออกทางพริ้นเตอร์ได้
12.ไมโครโฟน (Microphone)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลจากเสียงพูดโดยตรง เสียงที่ได้จะถูกแปลงสัญญาณเป็นสัญญาณดิจิตอล เพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้การสื่อสาร โดยใช้เสียงคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีหน่วยที่ทำหน้าที่จดจำเสียง ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของอุปกรณ์หรือชุดคำสั่ง (Voice Recognition Devices or Voice Recognition Software) ซึ่งทำให้สามารถสื่อสารหรือสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้
1. แป้นพิมพ์ (Keyboard)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลที่สามารถพิมพ์หรือเคาะได้ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร เป็นต้น แป้นพิมพ์ถูกออกแบบให้ประกอบด้วยกลุ่มของคีย์ที่มีลักษณะต่างๆ คือ คีย์ตัวอักษร คีย์ตัวเลข คีย์ฟังก์ชั่น และคีย์ทั้งหมดมีถึง 101 คีย์หรือมากกว่า
2. เมาส์ (Mouse)เป็นอุปกรณ์สำหรับรับข้อมูลจากการชี้ตำแหน่งบนจอภาพ โดยอาศัยการเลื่อนเมาส์จากการหมุนของลูกกลมที่อยู่ด้านล่าง นอกจากนี้ยังใช้เมาส์สำหรับการวาดรูป การเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนย้าย ซึ่งอาจทำให้ผู้ใช้งานสามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้อย่างรวดเร็ว
3. แทร็กบอล (Track Ball)เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล โดยการชี้และเลือกข้อมูลผ่านทางจอภาพเช่นเดียวกับเมาส์แต่ แทร็กบอลจะเลื่อนตัวชี้โดยการหมุนลูกบอลที่อยู่ด้านบน โดยตัวแทร็กไม่ต้องเคลื่อนที่ จึงทำให้ใช้พื้นที่การทำงานน้อยกว่า นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop)
4. จอยสติก (Joy Stick)เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลมีลักษณะเป็นคันโยกขึ้นลง ซ้ายขวา เพื่อควบคุมตำแหน่งของตัวชี้ หลักการทำงานเช่นเดียวกับเมาส์นิยมใช้ในการเล่นเกมส์
5. เครื่องอ่านบาร์โค๊ต (Bar Code Reader)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลจากรหัสของเลขฐานสองที่อยู่ในรูปของรหัสแถบ (Bar Code) ซึ่งประกอบด้วยแถบสีดำและยาว ความกว้างของแถบสีดำตัวกำหนดรหัสที่แทนค่าของตัวเลขตามมาตรฐานการกำหนดรหัสจะใช้สำหรับข้อมูลที่แทนตัวเลข เช่น ราคาของสินค้าตามร้านขายสินค้าประเภทต่างๆ
6. สแกนเนอร์ (Scanner)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูล โดยการอ่านหรือสแกน(Scan) ข้อมูลที่ต้องการ เครื่องสแกนจะมีเซลล์ไวแสงที่ตรวจจับความเข้มของแสงที่สะท้อนจากข้อมูล แล้วแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลให้เครื่องคอมพิวเตอร์ดำเนินการต่อไป ข้อมูลอาจจะอยู่ในรูปของข้อความหรือกราฟฟิก เครื่องสแกนมีหลายแบบตามความเหมาะสมกับการใช้งาน เช่น แบบมือถือ แบบสอดกระดาษ แบบแท่น เป็นต้น
7. เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง (Optical Character Reader: OCR)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่เป็นอักขระจากเอกสารต่างๆ เช่น ตัวอักษรบนเช็ค ตัวอักษรบนเอกสารอื่นๆ ทำให้สะดวกในการรับข้อมูลจากเอกสารจำนวนมาก
8. 1.1.8 เครื่องอ่านหมึกพิมพ์แม่เหล็ก (Magcnetic Ink Character Reader: MICR)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่พัฒนาเพื่อใช้สำหรับการอ่านสัญลักษณ์ที่พิมพ์จากหมึกพิมพ์ที่ผสมกับผงเหล็กออกไซด์ เครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธนาคารและสถาบันการเงิน โดยใช้กับการอ่านเช็คเลขที่บัญชี หรือรหัสสาขา เป็นต้น
9. ปากกาแสง (Light Pen)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลอีกชนิดหนึ่งโดนการแตะปากกาแสงไปตามตำแหน่งหรือทิศทางที่ต้องการ มักใช้ในงานออกแบบ แต่การใช้สำหรับการเขียนอักขระ ไม่เป็นที่นิยมเนื่องจากมีข้อจำกัดเกี่ยวกับสัญญาณที่ได้รับจากการเขียน ซึ่งทำได้ยากในการเปรียบเทียบค่าที่รับเข้ากับค่าที่กำหนดไว้
10. จอสัมผัส (Touch Screens)เป็นอุปกรณ์สามารถทำงานได้ทั้งการรับและการแสดงผลการรับข้อมูลจะใช้นิ้วสัมผัสที่หน้าจอ เพื่อเลือกเมนู เช่น หน้าจอของเครื่อง ATM (Automatic Teller Machines) และเครื่องที่ใช้ในร้านซูเปอร์มาร์เก็ต เป็นต้น
11. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital Camera)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยการถ่ายภาพ ข้อมูลที่ได้จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลแล้วเก็บข้อมูลดิจิตอลนั้นไว้ในอุปกรณ์ CCD (Charge Coupled Device) แล้วส่งข้อมูลไปประมวลผลในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ภาพตามต้องการ ซึ่งสามารถพิมพ์ออกทางพริ้นเตอร์ได้
12.ไมโครโฟน (Microphone)เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลจากเสียงพูดโดยตรง เสียงที่ได้จะถูกแปลงสัญญาณเป็นสัญญาณดิจิตอล เพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้การสื่อสาร โดยใช้เสียงคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีหน่วยที่ทำหน้าที่จดจำเสียง ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของอุปกรณ์หรือชุดคำสั่ง (Voice Recognition Devices or Voice Recognition Software) ซึ่งทำให้สามารถสื่อสารหรือสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)